ความเข้าใจผิด”เกี่ยวกับกระท่อม”และ 4×100
ความเข้าใจผิด”เกี่ยวกับกระท่อม”และ 4×100 พืชกระท่อมเคยเป็น 1 ในพืช 4 ชนิดที่อยู่ในบัญชียาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ของ พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้แก่ กัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่น และเห็ดขี้ควาย แต่เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2564 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2564 ซึ่งมีสาระสำคัญคือการปลดพืชกระท่อมออกจากยาเสพติดให้โทษ ในตอนนั้น นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมอธิบายว่า พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษฉบับที่ 8 นี้ จะส่งผลให้ประชาชนสามารถปลูกและบริโภคกระท่อมตามวิถีชาวบ้าน รวมทั้งยังซื้อหรือขายใบกระท่อมโดยไม่ผิดกฎหมาย แต่หากมีการนำไปต้มเป็น น้ำกระท่อม สํา เร็ จ รูป ผสมยาเสพติดอื่น ๆ เช่น “สี่คูณร้อย” การนำกระท่อมไปแปรรูปเป็น 4*100 ยังถือว่าผิดกฏหมายอยู่ มาทำความเข้าใจเรื่อง4*100 กันเถอะ
4*100 เป็นเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมหลัก 4 อย่าง คือ น้ำต้มใบกระท่อม น้ำอัดลมประเภทโคล่า ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของโคเดอีน และยากันยุง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นสูตรเริ่มแรกของสี่คูณร้อยตามการระบุของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ผู้เสพเมามายเมื่อต้นเดือนกันยายน 2564 สภาผู้แทนราษฎรได้ผ่านร่าง พ.ร.บ.พืชกระท่อม กำหนดแนวทางดูแลการปลูก การขาย การนำเข้าหรือส่งออกใบกระท่อม เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และกำหนดมาตรการป้องกันการใช้ใบกระท่อมในทางที่ผิด เช่น ห้ามขายใบกระท่อม น้ำต้มใบกระท่อม ยันยัน น้ำกระท่อม หรืออาหารที่มีใบกระท่อมเป็นวัตถุดิบหรือส่วนประกอบแก่บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี หญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร
การปลดกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติด = ยกเลิกบทลงโทษ
สำหรับการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษครั้งล่าสุดนี้ (ฉบับที่ 8) เป็นการปลดพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษ รวมทั้งยกเลิกบทลงโทษทั้งหมดที่เกี่ยวกับพืชกระท่อม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ ฉบับที่ 8 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2564 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 24 ส.ค. 2564 โดยระบุถึงเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ว่า
“โดยที่ปัจจุบันพืชกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 แต่ในหลายประเทศมิได้กำหนดให้พืชกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษ ประกอบกับอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2504 และพิธีสารแก้ไขอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 2515 มิได้กำหนดให้พืชกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากลและบริบทของสังคมไทยในบางพื้นที่ที่มีการบริโภคพืชกระท่อมตามวิถีชาวบ้าน สมควรยกเลิกพืชกระท่อมจากการเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5”
นอกจากนี้ ยังมีการปล่อยผู้กระทำความผิดตามกฏหมายพืชกระท่อมจำนวน 1,038 ราย โดยถือว่าไม่เคยกระทำความผิด แต่ผู้ที่ทำผิดในคดีที่เกี่ยวกับสารเสพติด ขาย น้ำกระท่อม ใกล้ ฉัน “สี่คูณร้อย” จะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จากกฎหมายนี้
ถึงกระท่อมจะเสรี แต่ยังไม่ใช่ทั้งหมด
การนำ ยันยัน น้ำกระท่อม ไปแปรรูปเป็น 4*100 ยังถือว่าผิดกฏหมายอยู่ มาทำความเข้าใจเรื่อง4*100 กันเถอะ 4*100 เป็นเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมหลัก 4 อย่าง คือ น้ำต้มใบกระท่อม น้ำอัดลมประเภทโคล่า ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของโคเดอีน และยากันยุง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นสูตรเริ่มแรกของสี่คูณร้อยตามการระบุของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ผู้เสพเมามาย
นอกจากนี้ การนำพืชกระท่อมไปทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรต้องดำเนินการภายใต้ พ.ร.บ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 และการนำไปขายเป็นลักษณะแปรรูปเป็นอาหารหรือเครื่องดื่มอื่น ๆ ก็ยังทำไม่ได้เนื่องจากผิด พ.ร.บ อาหาร พ.ศ. 2522
มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฏหมายควบคุมกระท่อมกันเถอะ
ข้อมูลสูตรน้ําต้มกระท่อมและบทกําหนดโทษ มีทั้งหมด 3 กรณี ดังนี้
(1)กรณีผลิต นำเข้า ส่งออก (2)กรณีทำเพื่อจำหน่าย (3) กรณีครอบครอง
1.กรณีผลิต นำเข้า ส่งออก
ข้อมูลสูตรน้ําต้มกระท่อมและบทกําหนดโทษ มี3สูตร และบทกำหนดโทษมี3แบบ
สูตรที่ 1 น้ำต้มกระท่อม + ยาแผนปัจจุบัน เช่นdiphenhydramine, chlorpheniramine,paracetamol, tramadol เป็นต้น
ช้อหา – ผลิต หรือนําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันโดยไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา12)
โทษ = จำคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท (มาตรา 101)
สูตรที่ 2 น้ําต้มกระท่อม + ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เช่น ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของ Codeine
ข้อหา – ผลิต นําเข้า ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 โดยไม่ได้รับอนุญาต(มาตรา 20 วรรคหนึ่ง)-ส่งออก ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 โดยไม่ได้รับอนุญาต(มาตรา 20 วรรคหนึ่ง)
โทษ = จําคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสามปีและปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสามแสนบาท(มาตรา70)- จําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ(มาตรา 7๑)
สูตรที่ 3 น้ําต้มกระท่อม + วจ. 2 เช่น alprazolam หรือวจ.4 เช่น diazepam เป็นต้น
ข้อหา – ผลิต นําเข้า หรือ ส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2โดยไม่ได้รับอนุญาต(มาตรา 15วรรคหนึ่ง)
โทษ = จําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงสองล้านบาท(มาตรา117วรรคหนึ่ง)
(กรณีทำเพื่อจำหน่าย)จําคุก ๗ –๒๐ ปี และปรับ ๗ แสน –๒ ล้าน
ข้อหา – ผลิต นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3หรือประเภท 4โดยไม่ได้รับอนุญาต(มาตรา 20วรรคหนึ่ง)
โทษ = จําคุกตั้งแต่สองปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท (มาตรา119วรรคหนึ่ง)-จําคุก ๓ – ๑๕ ปี
(กรณีทำเพื่อจำหน่าย)-จําคุก ๓ – ๑๕ ปี และปรับ ๓ แสน – ๑.๕ล้านบาท
2.กรณีทำเพื่อจำหน่าย
ข้อมูลสูตรน้ําต้มกระท่อมและบทกําหนดโทษ มี3สูตร และบทกำหนดโทษมี3แบบ
สูตรที่ 1 น้ำต้มกระท่อม + ยาแผนปัจจุบัน เช่นdiphenhydramine, chlorpheniramine,paracetamol, tramadol เป็นต้น
ข้อหา – ขาย ยาแผนปัจจุบันโดยไม่ได รับอนุญาต(มาตรา 12)
โทษ = จําคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท(มาตรา101)
สูตรที 2 น้ำกระท่อมใกล้ฉัน น้ําต้มกระท่อม + ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เช่น ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของ Codeine
ข้อหา – จําหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจําหน่ายซึ่ง ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓โดยไม่ได้รับอนุญาต ม.๒๐ วรรคหนึ่ง)(การมีไว้ในครอบครองเกินจํานวนที่ รมว.กําหนดให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจําหน่าย๒๐ วรรค ๔)(ตํารับที่มีโคเดอีนผสมเกินจํานวน ๒๕๐ mg. หรือ๓๐ เม็ด/แคปซูล)
โทษ = จําคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒หมื่น หรือทั้งจําทั้งปรับ(มาตรา ๗๑วรรรคหนึ่ง) *ถ้าเกินจํานวนตามประกาศ สธ ฉ.๑๘๑พ.ศ. ๒๕๔๕จําคุกไม่เกิน ๒ ปีและปรับไม่เกิน ๒แสนบาท(มาตรา ๗๑วรรคสอง)
สูตรที่ 3 น้ําต้มกระท่อม + วจ. 2 เช่น alprazolam หรือวจ.4 เช่น diazepam เป็นต้น
ข้อหา – ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา 16วรรคหนึ่ง)
โทษ = จําคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงสองล้านบาท (มาตรา118)
ข้อหา – ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๔ โดยไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา ๒๐วรรคหนึ่ง)
โทษ = จําคุกตั้งแต่สองปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท(มาตรา 120)
3.กรณีเป็นการครอบครอง
ข้อมูลสูตรน้ําต้มกระท่อม น้ำกระท่อม 7 11 และบทกําหนดโทษ มี3สูตร และบทกำหนดโทษมี3แบบ
สูตรที่ 1 น้ำต้มกระท่อม + ยาแผนปัจจุบัน เช่นdiphenhydramine, chlorpheniramine,paracetamol, tramadol เป็นต้น
ไม่ผิดกฏหมาย สามารถครองครองได้
สูตรที่ 2 น้ําต้มกระท่อม + ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เช่น ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของ Codeine
ข้อหา – จําหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจําหน่ายซึ่ง ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓โดยไม่ได้รับอนุญาต ม. ๒๐ วรรคหนึ่ง
โทษ = จําคุกไม่เกิน ๑ ปีหรือปรับไม่เกิน ๒หมื่น หรือทั้งจําทั้งปรับ(มาตรา ๗๑ วรรรคหนึ่ง)
การมีไว้ในครอบครองเกินจํานวนที่ รมว.กําหนดให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจําหน่ายมาตรา ๒๐ วรรค ๔)(ตํารับที่มีโคเดอีนผสมเกินจํานวน ๒๕๐ mg. หรือ๓๐ เม็ด/แคปซูล)ตามประกาศ สธ ฉ.๑๘๑ พ.ศ. ๒๕๔๕จำคุกไม่เกิน ๒ ปีและปรับไม่เกิน ๒แสนบาท(มาตรา๗๑ วรรคสอง)
สูตรที่ 3 น้ําต้มกระท่อม + วจ. 2 เช่น alprazolam หรือวจ.4 เช่น diazepam เป็นต้น
ข้อหา – มีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา88)
โทษ = ครอบครอง วจ.2จําคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ(มาตรา 140 วรรคหนึ่ง)ครอบครอง วจ.4โทษ – จําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ(มาตรา 140 วรรคสอง)
ถ้าเกินประมาณที่กำหนดในกฎกระทรวงสันนิษฐานว่าเป็นการกระทําเพื่อขาย(ม.๘๘วรรคสาม) โทษตามขาย